หน้าแรก การใช้ชีวิต หูของเรามีผลต่อการทรงตัวอย่างไร

หูของเรามีผลต่อการทรงตัวอย่างไร

by suksan
หู

หูของเรามีผลต่อการทรงตัวอย่างไร

หูเป็นอวัยวะสำคัญที่ทำหน้าในการได้ยิน และนอกจากการได้ยินแล้วยังช่วยให้เราสามารถทรงตัว และเคลื่อนไหวทรงตัวได้อย่างปกติ ถ้าหากเกิดความผิดปกติภายในหูก็อาจทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หรือที่เรียกกันว่าบ้านหมุนที่ไม่สามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติ และบทความนี้ ชีวิตสุขสันต์ จะนำเสนอโครงสร้างของหูมีส่วนประกอบอะไรบ้าง และแต่ละส่วนทำหน้าที่แตกต่างกันอย่างไรส่งผลต่อการทรงตัวของเราอย่างไร

  1. ทำไมหูและการได้ยินถึงมีผลต่อการทรงตัว
หู

ในหูชั้นในจะมีอวัยวะที่ทำหน้าสำคัญในการรับรู้ตำแหน่งของศีรษะและร่างกาย ส่งผลให้มีความจำเป็นต่อระบบการทรงตัวแต่ระบบการได้ยินและระบบการทรงตัวทำงานแยกจากกัน และระบบการได้ยินซึ่งประกอบไปด้วยเยื่อแก้วหูและกระดูกขนาดเล็กทั้ง 3 ชิ้น ได้แก่ ค้อน, ทั่ง, โกลน จะวางตัวอยู่ในหูชั้นกลางในขณะที่อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัวจะวางตัวจะอยู่ในหูชั้นใน จึงจะสังเกตได้ว่าผู้ที่มีความบกพร่องทางการได้ยินจะไม่ได้มีปัญหาด้านการทรงไปตัวด้วย

  1. หูกับกับภาวะสมดุลของการทรงตัว
หู

ภาวะสมดุลของการทรงตัวที่ทำให้คนเราสามารถนั่ง นอน ยืน เดิน วิ่ง ปฏิบัติกิจวัตรต่าง ๆ หรือกิจกรรมต่าง ๆ ในประจำวัน ทั้งหมดนี้ต้องอาศัยกลไกของการทรงตัวหลาย ๆ อย่างทำงานประสานกันอย่างสมดุล หากเรามีการสูญเสียสมรรถภาพของการทรงตัวอย่างถาวรเป็นผลจากความผิดปกติของอะไรก็ตาม ที่ทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะแบบหมุนหรือการเสียสมดุลของการทรงตัวมีกลไกการควบคุมการทรงตัวมี 3 ประการ คือสายตา แรงดึงและดัน และแรงสัมผัสของร่างกาย ระบบทรงตัวในหูชั้นในจะมีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนไหวของลูกตาเป็นอัตโนมัติ

  1. หูของเราการเสียสมดุลเกิดจาดอะไร
หู

การสูญเสียสมรรถภาพถาวรของระบบทรงตัวสามารถเกิดขึ้น จากการมีความผิดปกติของระบบการทรงตัวในหูชั้นในและเครือข่ายเชื่อมโยงของสมอง การสูญเสียสมรรถภาพปรากฏได้และการเสียสมดุลของการทรงตัวแบ่งได้ 2 อย่างดังนี้

1. สูญเสียหน้าที่ทรงตัวของหูชั้นใน

2. การแปรปรวนของหน้าที่ทรงตัวของหูชั้นใน

ดังนั้นหูมีความเกี่ยวข้องกับการทรงตัวเพราะว่าเป็นอวัยวะสำคัญส่วนหนึ่งที่ช่วยให้คนเราสามารถทรงตัวอยู่ได้ และภายในหูมีของเหลวที่ไวต่อการกระตุ้น ของเหลวนี้จะทำหน้าที่ในการรับรู้สมดุล หากเราหมุนไปรอบ ๆ ตัวเร็ว ๆ หลาย ๆ ครั้ง จะทำให้อวัยวะนี้เกิดความสับสน เราจึงรู้สึกเวียนศีรษะ ตัวอย่างเช่น เวลาน้ำในหูไม่เท่ากันจึงมักจะเห็นอาการเดินเซและทรงตัวไม่อยู่นั่นเอง ขอขอบคุณบทความดีๆ จาก ล็อตโต้สด

หู

Leave a Comment